พันธกิจ (Mission)

บริหารเครื่องจักรกลและเงินทุนหมุนเวียนของกรมทางหลวง

ค่านิยมหลัก (Core Value) “SAAP”

ยุทธศาสตร์องค์กร

ด้วยเงินทุนหมุนเวียนค่าเครื่องจักรกลของกรมทางหลวง ได้ออกยุทธศาสตร์เกี่ยวกับองค์กร เพื่อให้ครอบคลุมการทำงานทุกด้าน จึงได้มี ยุทธศาสตร์องค์กรแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

เกี่ยวกับองค์กร

แผนยุทธศาสตร์

แผนยุทธศาสตร์เงินทุนหมุนเวียนฯ

ข้อมูลแผนยุทธศาสตร์และผลการดำเนินงาน

แผนปฏิบัติการดิจิทัลของเงินทุนหมุนเวียนฯ

ข้อมูลแผนยุทธศาสตร์และผลการดำเนินงาน

ดาวน์โหลดแผนฯ

แผนการบริหารทรัพยากรบุคคลของเงินทุนหมุนเวียนฯ

ข้อมูลแผนยุทธศาสตร์และผลการดำเนินงาน

ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจำปี 2567

แผนบริหารทรัพยากรบุคคลเงินทุนหมุนเวียนฯ ประกอบด้วย 4 โครงการ

ผลการดำเนินงานประจำไตรมาส

ไตรมาส แผนการดำเนินงาน(ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน(ร้อยละ) หมายเหตุ
1 24.78 29.78 สูงกว่าแผน
2 55.55 61.80 สูงกว่าแผน
3 84.51 82.01 ต่ำกว่าแผน
4 100 100 ตามแผน

ดาวน์โหลดแผนฯ

ประเด็นยุทธศาสตร์

คำอธิบายเพิ่มเติม

ด้านพัฒนาระบบการบริหารภายในให้เกิดประสิทธิภาพ

1. บริหารสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ลดค่าใช้จ่าย (บริหารต้นทุน)

ด้านพัฒนาช่องทางการการให้บริการรูปแบบใหม่ (การจำหน่าย, การจัดหาเครื่องจักร. การให้บริการเช่า, การปรับซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องจักร)

1. พัฒนาการออกแบบระบบให้บริการรูปแบบใหม่ (การจำหน่าย, การจัดหาเครื่องจักร, การให้บริการเช่า, การปรับซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องจักร)

ด้านยกระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย / ผู้ใช้บริการ

1. ยกระดับความพึงพอใจ ความผูกพันของกลุ่มกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย / ผู้ใช้บริการ
2. ส่งเสริมภาพลักษณ์เงินทุนฯ
3. สร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างเงินทุนหมุนเวียนฯ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ด้านปรับปรุงกระบวนงานและสร้างนวัตกรรมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านดิจิทัล

1.เพิ่มประสิทธิภาพการซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องจักร
2. บริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น (Lean Process and Innovation)
3. เพิ่มการใช้พลังงานทดแทน
4. พัฒนาระบบงานดิจิทัล

ด้านบริหารและพัฒนาทุนมนุษย์

1. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสูง

ตัวชี้วัดเงินทุนหมุนเวียนฯ

รายงานความสำเร็จของเงินทุนหมุนเวียน กรมทางหลวง

ดูข้อมูลทั้งหมด